EP:Fours𝟒
//การกระทำ
() คิดในใจ
[] กระซิบ
+ ทำตาม
📞โทร
💬 แชท
🔊 เสียง
📌 โลเคชั่น
❄ เย็นชา
‼️ตกใจ
👤ทุกคน
🚿อาบน้ำ
❓สงสัย
อ่านแล้ว📖
🎤ไมค์
👥กลุ่มไลน์
❕‼️ ตกใจ ตะโกน ตะคอก
🗣 พูด
เจย์👑
//ขึ้นลิฟต์ไปห้องขวัญ
ขวัญ👑
มึงดูเอา😢//เอารูปให้เจย์ดู
ขวัญ👑
มึงไม่คนรักไม่รู้หรอ😢
เจย์👑
ก่อนมึงจะคบกับมันอีก
ขวัญ👑
มึงรู้ไหมว่ามึงได้จูบแรกกูเลยนะ
ขวัญ👑
พวกกู 2 คน คุยกันแล้ว
ขวัญ👑
กู 2 คนจะมีใครก็ได้แต่แค่ไม่ยุ่งวุ่นวายต่อกัน
ขวัญ👑
จนกว่าจะมีใครรักพวกกู 2 คนจริง
ขวัญ👑
อุ้มปายนอนหน่อยย🥺//🥴
เจย์👑
อืม//อุ้มอีกคนขึ้นเตียงนอน
𝐂𝐀𝐏𝐓𝐈𝐎𝐍𝐒:ขอบคุณ💗@𝖩𝖺𝗒🐶
กดใจ :𝟐.𝟓 𝐌
ปิดคอมเม้น
ทั้งสองลงว่าข้างล่างคอนโด
𝐂𝐀𝐏𝐓𝐈𝐎𝐍𝐒:𝐓𝐡𝐚𝐧𝐤𝐬🙏𝐅𝐨𝐫 𝐛𝐫𝐞𝐚𝐤𝐟𝐚𝐬𝐭😘
กดใจ :𝟐.𝟓 𝐌 เม้นท์: 𝟑.𝟎 𝐌
𝗖𝗼𝗺𝗺𝗲𝗻𝘁𝘀: 𝖩𝖺𝗒🐶 :แอบถ่าย
ตอบกลับ: ใช่😄
𝘔𝘰𝘤𝘩𝘪🐦: อยู่ด้วยกันหรอ🌚🌝
ตอบกลับ: จ๊ะ
𝐂𝐀𝐏𝐓𝐈𝐎𝐍𝐒: คู่จิ้นหรือคู่จริงค่ะ
𝐋𝐢𝐤𝐞: 𝟓.𝟗𝐌
𝗖𝗼𝗺𝗺𝗲𝗻𝘁𝘀: 𝟒.𝟗 𝐌
ตปก: น่ารัก
ตปก:คู่จริงเถอะ
ตปก:แต่พี่ขวัญมีแฟนแล้วนะ
ขวัญ👑
กูว่าละทำไมคนเมื่อเช้าเยอะ
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาเข้าเรียนแล้วค่ะ
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาเข้าเรียนแล้วค่ะ(พูดซ้ำ)
ทั้งแปดคนเดินเข้าห้องเรียน
อันดา😈
มีแฟนอยู่แล้วยังอ่อยไปทั่ว🙄
ขวัญ👑
คนอย่างกูไม่จำเป็นต้องอ่อยค่ะ
ขวัญ👑
แค่คุยนิดหน่อยผู้ชายก็มาแล้วค่ะ
โมจิ(พนอ+พพอ)
[การแสดงมาละ]
เจย์👑
กูเห็นอยู่ว่ามึงตบขวัญ
คุณครู
วันนี้เราจะเรียนกันอีกแค่5 เดือนเท่านั้น
คุณครู
วันนี้เราจะเรียนวิชาประวัติศาสตร์นะคะ
คุณครู
หัวข้อ คือ กรุงศรีอยุธยา
คุณครู
กรุงศรีอยุธยา หรือ อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยสยาม (ไทยภาคกลาง) ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอำนาจหรือราชธานี ทั้งยังมีความสัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติ[5] เช่น จีน เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน เนเธอร์แลนด์ (ฮอลันดา) อังกฤษ และฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐชานของพม่า อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูในปัจจุบัน[
คุณครู
สถานะ
ราชอาณาจักร
เมืองหลวง
อยุธยา (1893–2006, 2031–2209, 2231–2310)
พิษณุโลก (2006–2031)[4]
ลพบุรี (2209–2231)
ภาษาทั่วไป
ไทย
การปกครอง
ราชาธิปไตยแบบศักดินา
พระมหากษัตริย์
• 1893–1913
1931–1952
ราชวงศ์อู่ทอง
• 1913–1931
1952–2112
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
• 2112–2172
ราชวงศ์สุโขทัย
• 2172–2231
ราชวงศ์ปราสาททอง
• 2231–2310
ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
ยุคประวัติศาสตร์
สมัยกลางและสมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา
• สถาปนา
4 มีนาคม พ.ศ. 1893 (นับแบบปฏิทินไทยสากล 12 มีนาคม พ.ศ. 1894)
• รัฐร่วมประมุขกับอาณาจักรสุโขทัย
พ.ศ. 2011
• เริ่มติดต่อกับโปรตุเกส
พ.ศ. 2054
• เสียกรุงครั้งที่หนึ่ง
พ.ศ. 2112
• สมเด็จพระนเรศวรประกาศอิสรภาพ
พ.ศ. 2127
• การยึดอำนาจโดยพระเพทราชา
พ.ศ. 2231
• เสียกรุงครั้งที่สอง
7 เมษายน พ.ศ. 2310
ก่อนหน้า ถัดไป
อาณาจักรละโว้
แคว้นสุพรรณภูมิ
อาณาจักรสุโขทัย
อาณาจักรนครศรีธรรมราช
อาณาจักรธนบุรี
ราชวงศ์โก้นบอง

คุณครู
ชื่อของอาณาจักรอยุธยามาจากคำว่า อโยธยา หรือ สุริอโยทยา (จารึกลานทองวัดส่องคบ ๑ จังหวัดชัยนาท พ.ศ. 1951) อโยชฌ หรือ อโยชฌปุระ (จารึกวัดพระศรีรัตนมหาธาตุสุพรรณบุรี ลานที่ ๑) อายุทธิยา หรือ โยธิยา (ตำนานพระธาตุดอยสุเทพ) ศรีโยทญา (สมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา) สรียุทธยา (จารึกพระราชมุนี หลักที่ 314) หมายถึง เมืองที่ศัตรูไม่อาจรบชนะได้ เป็นชื่อมาจากชื่อเมืองของพระรามในนิทานอินเดียเรื่อง รามายณะ ต่อมา ประเสริฐ ณ นคร ได้เสนอแก้เป็น อยุธยา จึงใช้คำว่า อยุธยา มาโดยตลอด[7]: 13 ส่วนนักประวัติศาสตร์รุ่นต่อมาสันนิษฐานว่า อโยธยา มาจากจารึกเขากบ จังหวัดนครสวรรค์ คำจารึกปรากฏชื่อว่า อโยธยาศรีรามเทพนคร[8]: 125 ส่วนชื่ออาณาจักรอยุธยาในพระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา และพระราชพงศาวดารพม่าในการรับรู้ของชาวพม่าปรากฏชื่อ โยเดีย โยธยา (พม่า: ယိုးဒယား, อักษรโรมัน: Yodayá, Yòdəyá, แปลตรงตัว 'ชาวสยาม (Siamese), ชาวไทย ประเทศไทย (Thai, Thailand)')[9] อโยชะ (Ayoja)[10] หรือ คฺยวม (Gywan)[10] กร่อนมาจากคำว่า อโยธยา หมายถึง ชาวไทยจากภาคกลาง และภาคใต้ของไทย (ไม่รวมไทใหญ่ และล้านนา) และยังหมายถึง ราชธานีและอาณาจักรทวารวดีศรีอยุธยาซึ่งสถาปนาขึ้นใน พ.ศ. 1893[11]: 122
ศาสตราจารย์ยอร์ช เซเดส์ กล่าวว่า Arawsa หรือ Ayoja ใน มหาราชวงศ์ ฉบับหอแก้ว หมายถึง อยุธยา (Ayudhya) = สยาม[12]
ชื่ออาณาจักรอยุธยาในบันทึกต่างชาติฝั่งเอเชียตะวันตกเฉียงใต้ พบในบันทึกของราชทูตเปอร์เซียชื่อ The Ship of Sulaiman ที่เข้ามาในรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่า ชะฮฺริ เนาว์[13]: 118 [14]: 118 (เปอร์เซีย: شهر نو[15]: 168 ; อังกฤษ: Shahr-i Nau[15]: 168 , shahr i nâv[16]: 132 [17], Shahr-i-Nao[8]: 125 ) ชะฮฺริ หรือ ชะฮฺร์ หมายถึง เมือง เนาว์ หมายถึง เมืองใหม่ หรือ เรือ[13]: 118:เชิงอรรถ ๑ เมื่อรวมกันจึงหมายถึง เมืองใหม่อันเป็นเมืองแห่งนาวา มีเรือ และแม่น้ำลำคลองมากมาย [13]: 146 นักประวัติศาสตร์ศิลป์และนักโบราณคดีของไทยมีความเห็นว่า บริเวณฝั่งตะวันออกของเกาะอยุธยาอาจเคยเป็นที่ตั้งของเมืองเก่ามาก่อนที่จะสถาปนาอาณาจักรอยุธยาขึ้นราว ค.ศ. 1350[8]: 74:เชิงอรรถ ๒
ชื่อของอาณาจักรอยุธยาในบันทึกของชาวตะวันตกอื่นๆ เพี้ยนมาจาก ชะฮฺริ เนาว์ ในภาษาเปอร์เซีย เช่น แชร์นอเนิม (Cernonem)[18] พบใน บันทึกการเดินทางของนิกโกโล เด คงติ (Niccolò de’ Giovanni Conti) ที่เดินมาเข้ามายังอุษาคเนย์ราว ค.ศ. 1425-1430 ชิแอร์โน (Scierno)[18] ในภาษาอิตาลีพบในแผนที่โลก Il Mappamondo di Fra Mauro เขียนโดย ฟรา เมาโร เมื่อ ค.ศ. 1450 ส่วนเอกสารโปรตุเกสชื่อ ซาร์เนาซ์ (Xarnauz)[18] เพี้ยนมาจากภาษาเปอร์เซียเช่นกัน พบใน จดหมายเหตุการเดินทางสู่อินเดียครั้งที่ 1 ของวาสโก ดา กามา ค.ศ. 1497-1499 (Roteiro da primeira viagem de Vasco da Gama à Índia, 1497-1499) เข้าใจว่าจดหมายเหตุนี้เขียนโดย เวลญู (Álvaro Velho) เป็นต้น ชื่ออื่นๆ ในเอกสารสเปนยังปรากฏว่า โอเดีย (Odia, Iudua, Iudiad, Iudia) หรือ ยูเดีย (Judia, Juthia, Yuthia)[8]: 125 หรือ พระมหานครโยเดีย[19] บันทึกของนีกอลา แฌร์แวซ ซึ่งเดินทางเข้ามาเมื่อปลายรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีชื่อว่า Meüang Sijouthia (Ayut'ia)[20]: 15 ส่วนชาวญี่ปุ่นเรียกอยุธยาว่า ชามโร (Shamro)[21]: 153
เค้าหามาจากพี่ 𝐠𝐨𝐨𝐝𝐥𝐞นะจ๊ะ
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาพักเที่ยงแล้ว
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาพักเที่ยงแล้ว(พูดซ้ำๆ)
ขวัญ👑
เกลค่ายลีโอไปซื้อข้าว
มิเกล(พนอ+พพอ)
อันนี้ข้าวมึงกับเจย์
ค่าย(พนอ+พพอ)
อันนี้ของลินกับไบร์ท
ลีโอ(พนอ+พพอ)
อันนี้ของโมกับเกล
ค่าย(พนอ+พพอ)
และอันนี้ของกูกับไอ้ลีโอ
โมจิ(พนอ+พพอ)
อันนี้น้ำขวัญกับเจย์
ไบร์ท(ญาตินอ+พพอ)
อันนี้น้ำเกลกับโม
ลิน(พนอ+พพอ)
อันนี้ของค่ายกับลี
ไบร์ท(ญาตินอ+พพอ)
ส่วนอันนี้ของกูสองคน
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาเข้าเรียน
🔔: ขนาดนี้ได้เวลาเข้าเรียน(พูดซ้ำ)
คุณครู
วันนี้เราจะเรียนวิชาคณิตศาสตร์
คุณครู
หัวข้อ: เศษส่วนและเปอร์เซ็นต์

คุณครู
เศษส่วน คือความสัมพันธ์ตามสัดส่วนระหว่างชิ้นส่วนของวัตถุหนึ่งเมื่อเทียบกับวัตถุทั้งหมด เศษส่วนประกอบด้วยตัวเศษ (numerator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนของวัตถุที่มี และตัวส่วน (denominator) หมายถึงจำนวนชิ้นส่วนทั้งหมดของวัตถุนั้น ตัวอย่างเช่น
3
4
อ่านว่า เศษสามส่วนสี่ หรือ สามในสี่ หมายความว่า วัตถุสามชิ้นส่วนจากวัตถุทั้งหมดที่แบ่งออกเป็นสี่ส่วนเท่าๆ กัน นอกจากนั้น การแบ่งวัตถุสิ่งหนึ่งออกเป็นศูนย์ส่วนเท่า ๆ กันนั้นเป็นไปไม่ได้ ดังนั้น 0 จึงไม่สามารถเป็นตัวส่วนของเศษส่วนได้ (ดูเพิ่มที่ การหารด้วยศูนย์)
เค้กถูกตัดออกไปหนึ่งในสี่ส่วน เหลือเพียงสามในสี่ส่วน
เศษส่วนเป็นตัวอย่างชนิดหนึ่งของอัตราส่วน ซึ่งเศษส่วนแสดงความสัมพันธ์ระหว่างชิ้นส่วนย่อยต่อชิ้นส่วนทั้งหมด ในขณะที่อัตราส่วนพิจารณาจากปริมาณของสองวัตถุที่แตกต่างกัน (ดังนั้น
3
4
อาจไม่เท่ากับ 3 : 4) และเศษส่วนนั้นอาจเรียกได้ว่าเป็นผลหาร (quotient) ของจำนวน ซึ่งปริมาณที่แท้จริงสามารถคำนวณได้จากการหารตัวเศษด้วยตัวส่วน ตัวอย่างเช่น
3
4
คือการหารสามด้วยสี่ ได้ปริมาณเท่ากับ 0.75 ในทศนิยม หรือ 75% ในอัตราร้อยละ
การเขียนเศษส่วน ให้เขียนแยกออกจากกันด้วยเครื่องหมายทับหรือ ซอลิดัส (solidus) แล้ววางตัวเศษกับตัวส่วนในแนวเฉียง เช่น ¾ หรือคั่นด้วยเส้นแบ่งตามแนวนอนเรียกว่า วิงคิวลัม (vinculum) เช่น
3
4
ในบางกรณีอาจพบเศษส่วนที่ไม่มีเครื่องหมายคั่น อาทิ 34 บนป้ายจราจรในบางประเทศ
คุณครู
เศษส่วนสามัญ (vulgar/common fraction) คือจำนวนตรรกยะที่สามารถเขียนอยู่ในรูป a/b หรือ
a
b
โดยที่ a และ b ซึ่งเรียกว่า ตัวเศษ และ ตัวส่วน ตามลำดับ เป็นจำนวนเต็มทั้งคู่[1] ตัวเศษแสดงแทนจำนวนของส่วนแบ่ง และตัวส่วนซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แสดงแทนการแบ่งส่วนจากทั้งมวล เช่น
1
3
,
3
4
นั้นเศษส่วนสามัญยังแยกออกเป็นเศษส่วนแท้ (proper fraction) ซึ่งมีค่าของตัวเศษน้อยกว่าตัวส่วน ทำให้ปริมาณของเศษส่วนน้อยกว่า 1 เช่น
7
9
และเศษเกิน (improper fraction) คือเศษส่วนที่ค่าของตัวเศษมากกว่าหรือเท่ากับตัวส่วน เช่น
5
5
,
9
7
คุณครู
จำนวนคละ
แก้
จำนวนคละ (mixed number) เป็นการนำเสนอเศษส่วนอีกรูปแบบหนึ่ง โดยนำจำนวนเต็มประกอบเข้ากับเศษส่วนแท้ และมีปริมาณเท่ากับสองจำนวนนั้นบวกกัน ตัวอย่างเช่น คุณมีเค้กเต็มถาดสองชิ้น และมีเค้กที่เหลืออยู่อีกสามในสี่ส่วน คุณสามารถเขียนแทนได้ด้วย 2
3
4
ซึ่งมีค่าเท่ากับ 2 +
3
4
จำนวนคละสามารถแปลงไปเป็นเศษเกินและสามารถแปลงกลับได้ตามขั้นตอนดังนี้
การแปลงจำนวนคละไปเป็นเศษเกิน (2
3
4
)
คูณจำนวนเต็มเข้ากับตัวส่วนของเศษส่วนแท้ (2 × 4 = 8)
บวกผลคูณในขั้นแรกด้วยตัวเศษ (8 + 3 = 11)
นำผลบวกเป็นตัวเศษประกอบกับตัวส่วน เขียนใหม่เป็นเศษเกิน (
11
4
)
การแปลงเศษเกินไปเป็นจำนวนคละ (
11
4
)
หารตัวเศษด้วยตัวส่วน ให้เหลือเศษเอาไว้ (11 ÷ 4 = 2 เศษ 3)
นำผลหารที่ไม่เอาเศษไปเป็นจำนวนเต็ม (2_)
นำเศษจากการหารเป็นตัวเศษประกอบกับตัวส่วน เขียนเศษส่วนต่อท้ายจำนวนเต็ม (2
3
4
)
อันเค้าก็หามาจากพี่กูเกิ้ลเหมือนกัน
ฝากกดไลค์คอมเม้นเป็นกำลังใจให้เค้าด้วยนะ
Comments
˚୨୧⋆Rosalin。˚ ⋆
จร้าาา
2024-10-27
0
˚୨୧⋆Rosalin。˚ ⋆
ฉันที่เห็นโจทย์:👁️👄👁️
2024-10-27
0