โอตาคุทหารเกิดใหม่ในอนิเมะ
ต่อนิดน้อย
🪄ขอพรกับตัวเอง
🌠พูดอะไรก่อเป็นจริงตามที่พูด
( ) คิดในใจ
🔮สื่อจิต
💫ร่ายมนต์
🎊เสกของ
อิโมจิแสดงความรู้สึก
* * เน่นคำ
เซ็นนิตสึ
ต้องเป็นผีแน่นๆอยู่ๆก่อออกมาจากในก่อไม่รู้
มากิ โทโระ (ร่างเด็ก)
นายนี่น่าฆ'าจริงๆเลย//ไม่ส อารมณ์
ทันจิโร่
(เอาไงดีอีกฝ่ายอารมณ์เสียแล้วสิแถมพูกคำพูดแบบนั่นอีก)
เซ็นนิตสึ
เอ๋ฆะ อุ่บ//โดนปิดปาก
ทันจิโร่
เขาบอกว่าคุณดูดีน่ะ//ทำหน้าแบบ
มากิ โทโระ (ร่างเด็ก)
อ่อขอบคุณครับ(ผมว่าแล้วเห้อ)//ทำเป็นหายโกรธเพราะโดนชม
มากิ โทโระ (ร่างเด็ก)
งั่นผมไปก่อนน่ะ//  ̄▽ ̄
แอด (พระเจ้า)
แอดไม่มีเวลาเลยแค่นี้ไปก่อนนะ
แอด (พระเจ้า)
เกล็ดเล็กเกล็ดน้อยของปืนโทโระ *ไม่อ่านก่อได้*
ปืน Heckler & Koch HK33 หรือ HK33
กองทัพไทยได้ขออนุญาตใช้สิทธิบัตรเพื่อนำมาผลิตเองโดยกรมสรรพาวุธทหารบก (สพ.ทบ.) และเข้าประจำการในปี พ.ศ. 2511 โดยใช้ชื่อ ปืนเล็กยาว แบบ 11 หรือตัวย่อ ปลย.11 สำหรับทหารบก หรือ ปืนเล็กยาวอัตโนมัติ ขนาด 5.56 มม. เอชเค 33 หรือตัวย่อ ปลยอ.5.56-3 สำหรับทหารอากาศ
ปัจจุบันยังประจำการอยู่ในบางหน่วยของกองทัพไทย และใช้สำหรับฝึกยิงปืนด้วยกระสุนจริงของนักศึกษาวิชาทหาร เพื่อให้เกิดความคุ้นเคย ตามศูนย์ฝึกนักศึกษาวิชาทหารต่าง ๆ
ภาพส่วนหนึ่งของหน่วยงานรัฐไทยใช้HK-33
เฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 33 (Heckler & Koch HK33) เป็นปืนเล็กยาว พัฒนาโดยบริษัทเฮคเลอร์แอนด์คอช ประเทศเยอรมนี ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 โดยพัฒนามาจากปืนเล็กยาวเฮคเลอร์แอนด์คอช จี3 ซึ่งเป็นขนาด 7.62x51 มม. มีประจำการในกองทัพบราซิล ไอร์แลนด์ ตุรกี และได้รับสิทธิ์ผลิตใช้ในกองทัพไทย และมาเลเซีย
เฮคเลอร์แอนด์คอช เอชเค 33
ชนิด
ปืนเล็กยาวจู่โจม
แหล่งกำเนิด
ประเทศเยอรมนีตะวันตก
บทบาท
ประจำการ
ค.ศ. 1968–ปัจจุบัน
ผู้ใช้งาน
ดู ผู้ใช้งาน
สงคราม
สงครามเวียดนาม
การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศมาเลเซีย[ต้องการอ้างอิง]
สงครามกลางเมืองเอลซัลวาดอร์
ความขัดแย้งเคิร์ด–ตุรกี
ความขัดแย้งภายในพม่า
ความไม่สงบในชายแดนภาคใต้ของประเทศไทย
สงครามกลางเมืองเยเมน (ค.ศ. 2015–ปัจจุบัน)[ต้องการอ้างอิง]
ประวัติการผลิต
บริษัทผู้ผลิต
เฮคเลอร์แอนด์คอช,
เอ็มเคอีเค (ได้รับใบอนุญาต)
ช่วงการผลิต
ค.ศ. 1968–2006 (เฮคเลอร์แอนด์คอช)
ค.ศ. 1999–ปัจจุบัน (เอ็มเคอีเค)[1]
แบบอื่น
ดู รุ่น
ข้อมูลจำเพาะ
มวล
เอชเค 33 เอ 2: 3.65 kg (8.05 lb)[2]
เอชเค 33 เอ 3: 4.0 kg (8.8 lb)
เอชเค 33 เคเอ 3: 3.9 kg (8.6 lb)
เอชเค 53: 3.05 kg (6.7 lb)
ความยาว
เอชเค 33 เอ 2: 920 mm (36.2 in)
เอชเค 33 เอ 3: 940 mm (37.0 in) ยืดพานท้าย / 735 mm (28.9 in) หดพานท้าย
เอชเค 33 เคเอ 3: 865 mm (34.1 in) ยืดพานท้าย / 675 mm (26.6 in) หดพานท้าย
เอชเค 53: 755 mm (29.7 in) ยืดพานท้าย / 563 mm (22.2 in) หดพานท้าย
ความยาวลำกล้อง
เอชเค 33 เอ 2: 390 mm (15.4 in)
เอชเค 33 เคเอ 3: 332 mm (13.1 in)
เอชเค 53: 211 mm (8.3 in)
กระสุน
5.56×45 มม. นาโต
ขนาดลำกล้องปืน
5.56 มม.
การทำงาน
ถ่วงเวลาด้วยลูกกลิ้ง
อัตราการยิง
เอชเค 33 เอ 2: 750 นัดต่อนาที
เอชเค 53: 700 นัดต่อนาที
ความเร็วปากกระบอก
เอชเค 33 เอ 2: 950 m/s (3,117 ft/s)
เอชเค 33 เคเอ 3: 880 m/s (2,887.1 ft/s)
เอชเค 53: 750 m/s (2,460.6 ft/s)
ระยะหวังผล
การปรับศูนย์เล็ง 100–400 m (328–1,312 ft)
ระบบป้อนกระสุน
ซองกระสุนแบบกล่องที่ถอดออกได้ 25, 30, หรือ 40 รอบ
ศูนย์เล็ง
กลองรูรับแสงหมุนด้านหลัง, ศูนย์หน้าของปืนมีฝาครอบ
เอเค-47 เป็นที่รู้จักกันอย่างเป็นทางการว่า อัฟโตแม็ท คาลาชนิคอฟ (รัสเซีย: Автома́т Кала́шникова, อักษรโรมัน: Avtomát Kaláshnikova, แปลตรงตัว: 'Kalashnikov’s automatic device'; ยังเป็นที่รู้จักกันคือ คาลาชนิคอฟ และ เอเค) เป็นปืนไรเฟิลจู่โจมด้วยกระสุนขนาด 7.62×39มม. ทำงานด้วยระบบแรงดันแก๊ส(gas-operated) ที่ถูกพัฒนาขึ้นในสหภาพโซเวียตโดยนาย มีฮาอิล คาลาชนิคอฟ เป็นอาวุธปืนรุ่นต้นกำเนิดของปืนไรเฟิลตระกูลคาลาชนิคอฟ(หรือ "เอเค") ส่วนตัวเลขท้ายว่า 47 หมายถึงปีที่สร้างปืนรุ่นนี้จนเสร็จสิ้น
เอเค 47[N 1]
เอเค-47 ไทป์ 2 พร้อมติดดาบปลายปืน
ชนิด
ปืนเล็กยาวจู่โจม
แหล่งกำเนิด
สหภาพโซเวียต
บทบาท
ประจำการ
ค.ศ. 1949–1974 (สหภาพโซเวียต)
ค.ศ. 1949–ปัจจุบัน (ประเทศอื่น ๆ)
ผู้ใช้งาน
ดูประเทศผู้ใช้งาน
สงคราม
ดูการศึก
ประวัติการผลิต
ผู้ออกแบบ
มีฮาอิล คาลาชนิคอฟ
ช่วงการออกแบบ
ค.ศ. 1946–1948[1]
บริษัทผู้ผลิต
คาลาชนิคอฟคอนเซิร์น และอื่น ๆ อีกมาก รวมถึงนอริงโก
ช่วงการผลิต
ค.ศ. 1948–ปัจจุบัน[2][3]
จำนวนที่ผลิต
เอเค 47 ประมาณ 75 ล้านกระบอก, อาวุธของตระกูลคาลาชนิคอฟ 100 ล้านกระบอก[4][5]
แบบอื่น
ดูรุ่น
ข้อมูลจำเพาะ
มวล
ปราศจากแมกกาซีน:
3.47 kg (7.7 lb)
แมกกาซีน ว่างเปล่า:
0.43 kg (0.95 lb) (ส่งออกแต่แรก)[6]
0.33 kg (0.73 lb) (หล็กกล้า)[7]
0.25 kg (0.55 lb) (พลาสติก)[8]
0.17 kg (0.37 lb) (โลหะผสมที่มีน้ำหนักเบา)[7]
ความยาว
พานท้ายไม้:
880 mm (35 in)[8]
875 mm (34.4 in) ยืดพานท้าย
645 mm (25.4 in) พับพานท้าย[6]
ความยาวลำกล้อง
ความยาวโดยรวม:
415 mm (16.3 in)[8]
ความยาวลำกล้องปืนเล็กยาว:
369 mm (14.5 in)[8]
กระสุน
7.62×39 มม.
การทำงาน
แรงดันแก๊ส, ลูกเลื่อนหมุนตัว
อัตราการยิง
อัตราเร็วในการยิงทางทฤษฎี:
600 นัดต่อนาที[8]
อัตราเร็วในการยิงต่อสู้:
กึ่งอัตโนมัติ 40 นัดต่อนาที[8]
การระเบิด 100 นัดต่อนาที[8]
ความเร็วปากกระบอก
715 m/s (2,350 ft/s)[8]
ระยะหวังผล
350 ม. (380 หลา)[8]
ระบบป้อนกระสุน
ซองกระสุนแบบกล่องถอดได้ 30 นัด[8]
นอกจากนี้ยังมีแบบกล่อง 5, 10, 20 และ 40 นัด รวมถึงใช้แมกกาซีนแบบจาน 75 และ 100 นัดได้
ศูนย์เล็ง
ศูนย์เปิดปรับได้ 100–800 ม.
รัศมีศูนย์:
378 mm (14.9 in)[8]
งานออกแบบปืนรุ่นเอเค-47 เริ่มต้นขึ้นในปี ค.ศ. 1945 ในปี ค.ศ. 1946 เอเค-47 ได้ถูกนำเสนอสำหรับการพิจารณาคดีทหาร และในปี ค.ศ. 1948 รุ่นที่ยังอยู่ในคลังได้ถูกนำเสนอให้เข้าสู่หน่วยงานปฏิบัติหน้าที่ถูกรับเลือกโดยหน่วยทหารของกองทัพบกโซเวียต การพัฒนาในช่วงแรกของการออกแบบคือ รุ่นเอเคเอ็ส (S—Skladnoy หรือ"พับได้") ซึ่งถูกติดตั้งด้วยพานท้ายปืนที่ทำมาจากเหล็กที่สามารถพับเก็บได้ ในช่วงต้นปี ค.ศ. 1949 เอเค-47 ได้รับการยอมรับอย่างเป็นทางการจากกองทัพโซเวียต[9] และถูกใช้งานโดยรัฐสมาชิกส่วนใหญ่ของกติกาสัญญาวอร์ซอ
แม้ว่าจะผ่านพ้นไป 7 ทศวรรษ แต่ละรุ่นและรูปแบบต่างๆ ยังคงเป็นปืนไรเฟิลที่ได้รับความนิยมและใช้งานกันอย่างแพร่หลายทั่วโลก เนื่องจากด้วยความน่าเชื่อถือภายใต้สภาวการณ์ที่เลวร้าย ต้นทุนการผลิตที่ต่ำเมื่อนำมาเทียบกับอาวุธปืนฝั่งตะวันตกในยุคสมัยเดียวกัน ด้วยสภาพความพร้อมที่จะใช้งานในแทบทุกภูมิภาคทางภูมิศาสตร์และใช้งานที่ง่ายดาย เอเค-47 ได้ถูกผลิตในหลายประเทศและได้แสดงให้เห็นถึงการใช้งานของกองกำลังติดอาวุธ เช่นเดียวกับกองกำลังรบนอกแบบและการก่อการกำเริบทั่วโลก และเป็นพื้นฐานสำหรับการพัฒนาอาวุธปืนประจำตัวของทหารแต่ละบุคคลที่ประจำการในหน่วยต่างๆ อีกมากมายและอาวุธปืนพิเศษ ในปี ค.ศ. 2004 "จากจำนวนอาวุธปืนทั่วโลกประมาณ 500 ล้านกระบอก มีจำนวนราวประมาณ 100 ล้านกระบอกเป็นอาวุธรุ่นตระกุลคาลาชนิคอฟ ซึ่งสามในสี่ส่วนเป็นปืนรุ่นเอเค-47"[4
Comments