เลือดเดินทางจากหัวใจบนขวาไปยังหัวใจล่างขวาปอดหัวใจห้องบนซ้ายหัวใจห้องล่างซ้ายอวัยวะส่วนต่างๆและกลับไปที่หัวใจบนขวา หัวใจทำหน้าที่คล้ายเครื่องสูบน้ำที่สูบเลือดอวัยวะต่างๆที่ใช้งานเลือดที่หมดออกซิเจนในเลือดกลับมาฟอกหรือใส่ออกซิเจนที่ปอดสู้กับคืนเพื่อไปแจกจ่ายให้อวัยวะต่างๆ
หน้าที่
1 หัวใจบนขวารับเลือดเสีย(เลือดที่มีออกซิเจนต่ำ)
ตายแล้วไปส่งยังล่างขวาผ่านลิ้นหัวใจไตรคัสปิด
2หัวใจในล่างขวาสูบฉีดเลือดเสียไปฟอกที่ปอด
3ปอดฟอกเลือดให้มีออกซิเจนอีกครั้ง(เลือดที่มีออกซิเจนสูง)
4หัวใจบนซ้ายรับเลือดดีจากปอดแล้วส่งไปยังหัวใจล่างซ้ายผ่านลิ้นหัวใจไบคัสปิด
5หัวใจล่างซ้ายรับเลือดตีจากบนซ้ายแล้วสูบฉีดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย
องค์ประกอบของเลือด
1ประกอบด้วยน้ำเลือด/พลาสม่า(ของเหลว 55%)
2เลือดแดงเกล็ดเลือด 45% แต่มีส่วนของเม็ดเลือดขาวเรียกว่าpu ffy c o a t อยู่ตรงกลางระหว่าง 1 2 คือนำเรื่องพลาสม่าอยู่บนสุดและตัวบัฟฟี่ close ชั้นล่างสุดคือเม็ดเลือดแดงเกล็ดเลือด
เซลล์เม็ดเลือด
1 เซลล์เม็ดเลือดแดงไม่มีนิวเคลียสไม่สามารถแบ่งตัวสร้างโดยไขกระดูกมีองค์ประกอบ 3 อย่างคือฮีโมโกลบินเยื่อหุ้มเซลล์เอนไซม์มีอายุ 120 วัน
2 เม็ดเลือดขาว
สร้างแอนตี้บอดีทำหน้าที่ทำลายเชื้อโรคสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกายสร้างไขกระดูกม่านต่อมน้ำเหลืองมีอายุ 7-14 วัน
3 เกล็ดเลือดเวลาเป็นแผลเกร็ดเลือดจะทำจะทำให้แข็งตัวมีอายุ 3-4 วันหลังจากนั้นจะถูกทำลายโดยมากที่สร้างโดยเซลล์เม็ดเลือดขาว
4 เซลล์เม็ดเลือดแดง(art e r y)
นำเลือดออกจากหัวไปยังอวัยวะอื่นๆเลือดที่อยู่ในหลอดเลือดแดงคือเลือดดีผนังของหลอดเลือดแดงหนามีแรงดันสูง
5หลอดเลือดดำ(v e i n)
ทำเลือดจากร่างกายไปยังหัวใจในหลอดเลือดเป็นเลือดเสียหลอดเลือดดำมีผนังบางมีลิ้นกั้นเพื่อไม่ให้เลือดดำไหลย้อนกลับ
6หลอดเลือดฝอยทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สขนาดเล็กเป็นฝอยเชื่อมเลือดแดงเลือดดำและมีผนังบาง
สืบพันธุ์ของสัตว์แบ่งเป็น 2 ประเภท
1 การสืบพันธุ์แบบอาศัยพืชคือมีการปฏิสนธิภายในกับอสุจิของตัวผู้และอสุจิของตัวเมีย
พบได้ในสัตว์ปีกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมสัตว์เลื้อยคลานและยังมีอีกหนึ่งกรณี(ภายนอก)คืออสุจิตัวผู้ผสมกับไข่ภายนอกของตัวเมียเรียกว่าการปฏิสนธิภายนอก
2 แบบไม่อาศัยเพศ
(การเเตกหน่อ)การแตกหน่อตัวแม่สร้างเนื้อเยื่อเติบโตแล้วหลุดออกมาเป็นตัวใหม่
(การงอกใหม่)การแยกส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายออกมาเป็นตัวใหม่
การออกลูก
1 การออกลูกเป็นไข่เช่นสัตว์เลื้อยคลานสัตว์ปีกและยังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบางชนิดที่ออกลูกเป็นไข่เช่นตุ่นปากเป็ดตัวกินมด
2 การออกลูกเป็นตัวสัตว์ที่เลี้ยงลูกด้วยนมปลาบางชนิด
ระบบย่อยอาหาร
ย่อยเชิงกลคือการใช้แรงบดบีบ
ย่อยเชิงเคมีคือการใช้นํ้าย่อยๆ
ทางเดินอาหาร(อาหารเดินทางจากปากสู่ทวารหนัก)
กระบวนการการย่อยอาหาร
ปากสู่หลอดอาหารลงกระเพาะอาหารไปในลำไส้เล็กวนกลับมาที่ลำไส้ใหญ่ลงทวารหนัก
หน้าที่ต่างๆของอวัยวะในร่างกาย
ต่อมน้ำลาย ทำหน้าที่ผลิตน้ำย่อยอะไมเลสย่อยแป้งให้เป็นน้ำตาลมอลโทส
หลอดอาหาร อาหารลงสู่กระเพาะอาหารไม่มีการย่อยส่วนปลายของหลอดอาหารเป็นกล้ามเนื้อหูรูดเพื่อป้องกันไม่ให้อาหารที่อยู่ในกระเพาะอาหารไหลย้อนกลับมา
กระเพาะอาหาร หน้าที่ผลิตน้ำย่อยเพปซินด้วยโปรตีนเป็นเปปไทด์ผลิตน้ำย่อยเรนนินย่อยโปรตีนในน้ำนม
ลำไส้เล็ก ผลิตน้ำย่อยมอลเทสน้ำตาลมอลเทสให้กลายเป็นน้ำตาลกลูโคส น้ำย่อยซูเครสย่อยน้ำตาลกลูโคสและนํ้าตาลฟรักโทส
น้ำย่อยแลกเทส ย่อยน้ำตาลแลคโทสให้เป็นน้ำตาลกลูโคสและน้ำตาลกาแล็กโตส
น้ำย่อยอะมิโนเพปทิเดส โปรตีนสายสั้นให้เป็นกรดอะมิโน
ลำไส้เล็ก
ส่วนต้นดูโอดีนัมส่วนที่ย่อยมากที่สุด
ส่วนกลางเจจูนัมดูดซึมมากที่สุด
ส่วนปลายไอเลี่ยมยาวที่สุด
ลำไส้ใหญ่
ลำไส้ใหญ่ไม่ได้ทำหน้าที่ย่อยดูดวิตามินเกลือแร่กลูโคสแต่ทำหน้าที่จัดกากอาหารเซลล์แบคทีเรียที่ตายแล้วที่เหลือจากการดูดไปใช้ในร่างกาย
โครงสร้างพืชราก ลำต้น ใบดอกผลเมล็ด
คืออวัยวะที่เป็นส่วนประกอบของพืชที่ไม่มีคลอโรฟิลล์ไม่มีข้อปล้องตาใบ รากเติบโตตามแรงดูดของโลกลงสู่ดินมีขนาดความยาวแตกต่างกัน
รากแก้วเป็นรากที่งอกมาจากเมล็ดโคนรากแก้วมีขนาดใหญ่แล้วค่อยๆเรียวไปจนถึงปลายราก
รากแขนงเป็นรากที่แตกออกมาจากรากแก้วเจริญเติบโตขนานไปกับพื้นดินและสามารถแตกไปได้เรื่อยๆ
รากฝอยเป็นรากที่มีลักษณะขนาดโตสม่ำเสมอกันงอกออกมาเป็นกระจุก
ลากขนอ่อนหรือรากขนเป็นขนเล็กๆมากมายที่อยู่รอยปลายทำหน้าที่ดูดน้ำแร่ธาตุ
หน้าที่ของเราก
ยึดลำต้นให้ติดกับพื้น
ดูดน้ำแร่ธาตุอาหารที่ละลายมาจากน้ำลงดินแล้วลำเลียงขึ้นไปยังส่วนต่างๆของพืชผ่านลำต้นหรือกิ่ง
และยังมีรากอื่นเช่น
รากสะสมอาหาร
รากค้ำจุนพยุงลำต้น
รากยึดเกาะ
ร่างสังเคราะห์แสงพืชบางชนิดมีสีเขียวตรงปลายรากไว้สำหรับสร้างอาหารโดยการสังเคราะห์ด้วยแสง
ลำต้น
อยู่เหนือพื้นดินต่อจากรากมีขนาดรูปร่างลักษณะแตกต่างกันไปลำต้นมีทั้งลำต้นที่อยู่เหนือดินและลำต้นที่อยู่ใต้ดินลำต้นมี
3 ส่วนข้อปล้องตา
ใบ
อวัยวะของพืชที่เจริญออกมาจากข้อของลำต้นและกิ่งใบส่วนใหญ่มีสารสีเขียวเรียกว่าคลอโรฟิลล์ใบมีรูปร่างขนาดแตกต่างกันไปตามชนิดพืชใบประกอบด้วยก้านใบแผ่นใบเส้นกลางและเส้นใบ
หน้าที่
1 สร้างอาหารใบของพืชจะดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เพื่อนำไปสร้างอาหารเรียกว่าการสังเคราะห์ด้วยแสง
2 การคายน้ำ ทางปากใบซึ่งอยู่ข้างใต้ใบ
3หายใจใบของพืชจะดูดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และคายออกซิเจน
พืชลำเลียงน้ำโดยใช้ชื่อว่าไซเล็ม กระบวนการออสโมซิสจากร่างไปบนลำเลียงอาหารใช้ท่อชื่อ โฟลเอ็ม แพร่จากรล่างไปบนและบนไปล่าง
ปากใบทำหน้าที่เป็นทางเข้าออกของคาร์บอนไดออกไซด์คายน้ำคายออกซิเจนออกมา
การสังเคราะห์แสง
น้ำ + คาร์บอนไดออกไซด์(แสงโคโรฟิลล์เป็นตัวเร่ง)ให้ออกมาเป็นครูโตส + ออกซิเจน + น้ำ
การสืบพันธุ์พืช
เกสรเพศผู้สร้างละอองเรณู
เกสรเพศเมียสร้างเซลล์ไข่
สืบพันธุ์มีขั้นตอนดังนี้
1ถ่ายละอองเรณู
2 ปฏิสนธิ
ดอกอวัยวะสืบพันธุ์ของพืชทำหน้าที่สืบพันธุ์แบบอาศัยเพศที่เกิดมาจากปลายชนิดตาดอกอยู่บริเวณปลายยอดปลายกิ่งบริเวณลำต้นตามแต่ชนิดของพืชของดอกประกอบด้วยส่วนต่างๆแบ่งตามชนิดส่วนประกอบ
1ครบส่วนคือดอกไม้ที่มีองค์ประกอบครบทั้ง 4 คือกลีบเลี้ยงกลีบดอกเกสรเพศผู้เกสรเพศเมียอยู่ในดอกเดียวกัน
2 ดอกไม่ครบส่วนคือดอกไม้ที่ส่วนประกอบของดอกไม่ครบ 4 ในดอกเดียวกันแบ่งตามชนิดเกสรตัวผู้เมีย
ปล.
1 ดอกสมบูรณ์เพศมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียในดอกเดียวกัน
2ดอกไม่สมบูรณ์เพศไม่ได้มีเกสรเพศผู้หรือเกสรเพศเมียในดอกเดียวกันคือมีแค่เกสรเพศเมียตัวหนึ่งเดียวหรือเกสรเพศผู้หนึ่งเดียว
ผล
คือรังไข่ที่จะเดินเติบโตเต็มที่รังไข่อาจเกิดการเปลี่ยนภายหลังการปฏิสนธิซึ่งจะมีเมล็ดอยู่ภายในหรือเจริญมาโดยไม่ได้รับการปฏิสนธิหรือพาทีโนคาร์ปี ผลประเภทหลังโดยทั่วไปจะไม่มีเมล็ดเมล็ดเป็นแหล่งสะสมสารพันธุกรรมของพืชชนิดนั้นซึ่งสามารถขยายพันธุ์ต่อไปได้ผลของพืชผักชนิดอาจมีส่วนอื่นๆของรังไข่ซึ่งกลายเป็นองค์ประกอบของผลติดมาด้วยเช่นมีส่วนฐานของดอกรวมอยู่
องค์ประกอบของเมล็ด
เมล็ดประกอบด้วยเปลือกหุ้มเมล็ดต้นอ่อนและอาหารสำหรับเลี้ยงตัวอ่อนส่วนที่คล้ายกับต้นและใบเล็กๆอยู่ภายในเมล็ดคือต้นอ่อนและส่วนที่มีสีขาวหนาแยกออกได้เป็น 2 ซีกคืออาหารสำหรับเลี้ยงต้นอ่อนข
1เปลือกหุ้มเมล็ด
2เอมโดสเปิร์ม ทำหน้าที่สะสมอาหารพวกแป้งไขมันโปรตีนและน้ำตาลให้ต้นอ่อน
เพื่อวิธีการเล่นเพิ่มโปรดดาวน์โหลดMangatoon APP!