ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป[ภาค2]
[ยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลงไป]
หลังจากพวกเขากินชาบูกันเสร็จ
คิวก็ได้จ่ายเงินก่อนจะพาเพื่อนๆของเขาไปกินบิงซู
คิว [นายเอก+???]☀️❄️👑
//นั่ง
บีม [เพื่อนคิว+???]😆💓🍀
//+
นามะ [พี่เลี้ยงคิว+???]😑💢☀️
//+
ริน [เพื่อนคิว+???]❄️💢🔥
//+
พนักงาน
รับอะไรดีคะคุณชายและคุณหนู//เดินมา
บีม [เพื่อนคิว+???]😆💓🍀
มีอะไรมั้งคะ
พนักงาน
นี่คือเมนูของร้านทั้งหมดค่ะ//ยื่นใบเมนูให้
บีม [เพื่อนคิว+???]😆💓🍀
ขอบคุณค่ะ
บีม [เพื่อนคิว+???]😆💓🍀
เอาเป็น!#;฿+"(#)#;*
คิว [นายเอก+???]☀️❄️👑
ผมขอเป็น;฿;"+(#
ริน [เพื่อนคิว+???]❄️💢🔥
ขอเป็น!#;฿(*(#
นามะ [พี่เลี้ยงคิว+???]😑💢☀️
ฉันเอาเป็น!฿-฿(฿(#!#;
พนักงาน
ค่ะ..ได้ค่ะ//จดเสร็จแล้วก็เดินออกไป
ริน [เพื่อนคิว+???]❄️💢🔥
แกจะแดกเยอะไปไหน
บีม [เพื่อนคิว+???]😆💓🍀
ทำม้ะมีปัญหารึไง
นามะ [พี่เลี้ยงคิว+???]😑💢☀️
แดกได้แล้วน่า
นามะ [พี่เลี้ยงคิว+???]😑💢☀️
เพราะยังไงคนจ่ายก็คือ"คิว"อยู่ดี
คิว [นายเอก+???]☀️❄️👑
อย่าเน้นชื่อผมสิครับ
ริว [แอดเองฮ้าบป๊ม~]🌹❤️💕
แอดมีการบ้านเยอะมากจนลืมว่ามีนิยายที่ต้องแต่ง🥲🥲🥲
ริว [แอดเองฮ้าบป๊ม~]🌹❤️💕
ขอโทษด้วยคั้๊ปปป🥲
ระบบสุริยะ (อังกฤษ: Solar System) ประกอบด้วยดวงอาทิตย์และวัตถุอื่นๆ ที่โคจรรอบดวงอาทิตย์เนื่องจากแรงโน้มถ่วง ได้แก่ ดาวเคราะห์ 8 ดวงกับดวงจันทร์บริวารที่ค้นพบแล้ว 166 ดวง ดาวเคราะห์แคระ 5 ดวงกับดวงจันทร์ บริวารที่ค้นพบแล้ว 4 ดวง กับวัตถุขนาดเล็กอื่นๆ อีกนับล้านชิ้น ซึ่งรวมถึงดาวเคราะห์น้อย วัตถุในแถบไคเปอร์ ดาวหาง สะเก็ดดาว และฝุ่นระหว่างดาวเคราะห์
โดยทั่วไปแล้วจะแบ่งย่านต่างๆ ของระบบสุริยะ นับจากดวงอาทิตย์ออกมาดังนี้คือ ดาวเคราะห์ชั้นในจำนวน 4 ดวง แถบดาว เคราะห์น้อย ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่รอบนอกจำนวน 4 ดวง และแถบไคเปอร์ซึ่งประกอบด้วยวัตถุที่เย็นจัดเป็นน้ำแข็ง พ้นจากแถบไคเปอร์ ออกไปเป็นเขตแถบจานกระจาย ขอบเขตเฮลิโอพอส (เขตแดนตามทฤษฎีที่ซึ่งลมสุริยะสิ้นกำลังลงเนื่องจากมวลสารระหว่างดวงดาว) และพ้นไปจากนั้นคือย่านของเมฆออร์ต
กระแสพลาสมาที่ไหลออกจากดวงอาทิตย์ (หรือลมสุริยะ) จะแผ่ตัวไปทั่วระบบสุริยะ สร้างโพรงขนาดใหญ่ขึ้นในสสารระหว่าง ดาวเรียกกันว่า เฮลิโอสเฟียร์ ซึ่งขยายออกไปจากใจกลางของแถบจานกระจาย
ดาวเคราะห์ชั้นเอกทั้ง 8 ดวงในระบบสุริยะ เรียงลำดับจากใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดออกไป มีดังนี้คือ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
นับถึงกลางปี ค.ศ. 2008 วัตถุขนาดย่อมกว่าดาวเคราะห์จำนวน 5 ดวง ได้รับการจัดระดับให้เป็นดาวเคราะห์แคระ ได้แก่ ซีรีส ในแถบ ดาวเคราะห์น้อย กับวัตถุอีก 4 ดวงที่โคจรรอบดวงอาทิตย์อยู่ในย่านพ้นดาวเนปจูน คือ ดาวพลูโต (ซึ่งเดิมเคยถูกจัดระดับ ไว้เป็นดาว เคราะห์) เฮาเมอา มาคีมาคี และ อีรีส
มีดาวเคราะห์ 6 ดวงและดาวเคราะห์แคระ 3 ดวงที่มีดาวบริวารโคจรอยู่รอบๆ เราเรียกดาวบริวารเหล่านี้ว่า "ดวงจันทร์" ตามอย่างดวง จันทร์ของโลก นอกจากนี้ดาวเคราะห์ชั้นนอกยังมีวงแหวนดาวเคราะห์อยู่รอบ ตัวอันประกอบด้วยเศษฝุ่นและอนุภาคขนาดเล็ก
สำหรับคำว่า ระบบดาวเคราะห์ ใช้เมื่อกล่าวถึงระบบดาวโดยทั่วไปที่มีวัตถุต่างๆ โคจรรอบดาวฤกษ์ คำว่า "ระบบสุริยะ" ควรใช้ เฉพาะกับระบบดาวเคราะห์ที่มีโลกเป็นสมาชิก และไม่ควรเรียกว่า "ระบบสุริยจักรวาล" อย่างที่เรียกกันติดปาก เนื่องจาก ไม่เกี่ยวข้องกับ คำว่า "จักรวาล" ตามนัยที่ใช้ในปัจจุบันภาพแสดงดาวเคราะห์และดาวเคราะห์แคระในระบบสุริยะ โดยย่อขนาดของดาวตามอัตราส่วนจริง แต่ระยะห่างระ หว่างดาวไม่ใช่อัตราส่วนจริง
อายุ 4.568 พันล้านปี
ที่ตั้ง เมฆดวงดาวท้องถิ่น, ฟองท้องถิ่น, แขนของเทพนิยาย, ทางช้างเผือก
มวลของระบบ 1.0014 มวลสุริยะ
ดวงดาวที่ใกล้ที่สุด ระบบพร็อกซิมาคนครึ่งม้า (4.22 ปีแสง),
ระบบอัลฟาคนครึ่งม้า (4.37 ปีแสง)
ระบบดาวเคราะห์ที่ใกล้ที่สุดที่รู้จักกัน ระบบอัลฟาคนครึ่งม้า (4.37 ปีแสง)
ระบบดาวเคราะห์
กึ่งแกนหลักของเปลือกนอก ดาวเคราะห์ (เนปจูน) 4.503 พันล้านกิโลเมตร (30.10 AU)
ระยะห่างจากแถบไคเปอร์หน้าผา 50 AU
จำนวน ดาว 1 ดวง
ดวงอาทิตย์
จำนวน ดาวเคราะห์ 8 ดวง
ดาวพุธ, ดาวศุกร์, โลก, ดาวอังคาร,ดาวพฤหัสบดี,
ดาวเสาร์, ดาวยูเรนัส,ดาวเนปจูน
จำนวนดาวเคราะห์แคระที่รู้จักกัน 5 (IAU)
ซีรีส, ดาวพลูโต, เฮาเมอา, มาคีมาคี,อีริส
และหลายร้อยดวงอื่น ๆ
จำนวนบริวารที่รู้จักกัน 406 ดวง (176 ของดาวเคราะห์ และ 230 ของดาวเคราะห์น้อย)
จำนวนดาวเคราะห์น้อยที่รู้จักกัน 603,057 ดวง (จากข้อมูลเมื่อ 2013-01-10)
จำนวนดาวหางที่รู้จักกัน 3,184 ดวง (จากข้อมูลเมื่อ 2013-01-10)
จำนวนดาวเทียมรอบที่ระบุ 19 ดวง
วงโคจรเกี่ยวกับศูนย์กลางดาราจักร
Inclination ofinvariable plane to thegalactic plane 60.19° (ecliptic)
ระยะทางไปยังศูนย์กลางทางช้างเผือก 27,000±1,000 ปีแสง
ความเร็วโคจร 220 กิโลเมตรต่อวินาที
ระยะเวลาการโคจร 225–250 ล้านปี
คุณสมบัติระดับที่เกี่ยวข้อง
ชนิดสเปกตรัม G2V
แถวน้ำแข็ง ≈5 AU
Distance to heliopause ≈120 AU
รัศมีทรงกลมเนินเขา ≈1–2 ปีแสงประวัติการค้นพบและการสำรวจ
นับเป็นเวลาหลายพันปีในอดีตกาลที่มนุษยชาติไม่เคยรับรู้มาก่อนว่ามีสิ่งที่เรียกว่า ระบบสุริยะ แต่เดิมมนุษย์เชื่อว่า โลกเป็นศูนย์ กลางจักรวาลที่อยู่นิ่ง มีดวงดาวต่างๆ โคจรไปรอบๆ ผ่านไปบนท้องฟ้า แม้ว่านักดาราศาสตร์และ นักคณิตศาสตร์ชาวอินเดียชื่อ Aryabhata และนักปรัชญาชาวกรีก Aristarchus เคยมีแนวคิดเกี่ยวกับการที่ดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลางจักรวาล และจัดลำดับจักรวาลเสียใหม่ แต่ผู้ที่สามารถคิดค้นแบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อพิสูจน์แนวคิดนี้ได้สำเร็จเป็นคนแรกคือ นิโคเลาส์ โคเปอร์นิคัส ในคริสต์ ศตวรรษที่ 17 มีผู้สืบทอดแนวทางการศึกษาของเขาต่อมา คือกาลิเลโอ กาลิเลอี โยฮันเนส เคปเลอร์ และ ไอแซค นิวตัน พวกเขาพยายามทำความเข้าใจ ระบบทางฟิสิกส์และเสาะหาหลักฐานการพิสูจน์ยืนยันว่า โลกเคลื่อนไปรอบๆ ดวงอาทิตย์ และดาวเคราะห์ทั้งหลายต่างก็ดำเนิน ไปภายใต้กฎทางฟิสิกส์แบบเดียวกันนี้ ในยุคหลังต่อมาจึงเริ่มมีการสืบสวน ค้นหาปรากฏการณ์ทางภูมิธรณีต่างๆ เช่น เทือกเขา แอ่งหิน ปรากฏการณ์สภาพอากาศที่แปรเปลี่ยนตามฤดูกาล การศึกษาเกี่ยวกับ เมฆ พายุทราย และยอดเขาน้ำแข็งบนดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ
ดวงอาทิตย์
Comments
คุณจิตรดี
ค้าง…
2025-04-01
1
love
พึ่งกลับจากร.รสมองไม่รับอะไรทั้งสิ้น
2024-05-24
1
ฮิกังบานะสีเลือด{FBI//สาววาย}
อัพ~~~
2024-05-24
0